ภาษีอากร แนวทางลดหย่อน ภาษี เพื่อผลประโยชน์ที่มากขึ้น!

ภาษีอากร

ภาษีอากร เมื่อเข้าสู่วัยทำงาน แน่นอนว่าสิ่งที่เราจำเป็นต้องแบกรับเพิ่มเติมคือเรื่องของ ภาษี ด้วยเหตุที่ค่าใช้จ่ายของเราตลอดทั้งปีนั้นล้วนมีผลทั้งสิ้น ซึ่งหากเราศึกษาในระดับหนึ่ง เราจะทราบว่าวิธีในการชำระนั้นยังคงมีแนวทางที่จะช่วยให้เราลดหย่อนและนำเงินกลับคืนสู่กระเป๋าเราได้

ภาษีอากร เข้าเรื่องการลดหย่อนก่อนเริ่มต้นหาแนวทางลดหย่อน

            หากกล่าวโดยสรุปการลดหย่อนจะหมายถึงรายการใด ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้หักเพิ่มได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย ณ ที่จ่ายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการลดหย่อนถือเป็นหนึ่งในวิธีลดภาระให้กับผู้เสีย ภาษี ก่อนนำเงินสุทธิหรือเงินได้ส่วนบุคคลไปคำนวณตามอัตรา

  • รายการลดหย่อนส่วนบุคคลและครอบครัวได้
  • ผู้มีเงินได้ไม่เกิน 60,000 บาท สามารถลดหย่อน ภาษี ได้
  • คู่สมรส ที่หักเงินได้รวมกันไม่เกิน 120,000 บาท สามารถลดหย่อนได้ ทั้งนี้กฎหมายยังอนุญาตให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีเงินได้สูงสุด 60,000 บาท
  • ค่าบุตรสามารถลดหย่อนได้คนละ 30,000 – 60,000 บาท
  • ค่าเลี้ยงดูบิดามารดาลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
  • กรณีผู้พิการหรือผู้ทุพพลภาพสามารถลดหย่อน ได้คนละ 60,000 บาท
  • กรณีฝากครรภ์และทำคลอดสามารถลดหย่อนได้ไม่เกินละ 60,000 บาทต่อท้อง
ภาษีอากร

  • รายการลดหย่อนจากประกันและการลงทุน
  • เบี้ยประกันชีวิตทั่วไปหรือเงินฝากแบบมีประกันชีวิต ต้องไม่เกิน 100,000 บาทตามที่จ่ายจริง (กรณีคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้สามารถลดหย่อนได้ไม่เกิน 10,000 บาท)
  • เบี้ยประกันสุขภาพของบิดามารดาลดหย่อนได้ไม่เกิน 15,000 บาท
  • กรณีซื้อกองทุนสำหรับบำเหน็จหรือบำนาญของข้าราชการ (กบข.),กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ,กองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน ลดหย่อนได้ในกรณีจ่ายไม่เกิน 15% ของเงินเดือน หรือรวมสุทธิไม่เกิน 150,000 บาท
  • กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) นำมาลดหย่อนได้กรณีจ่ายไม่เกิน 30% ของเงินได้ หรือเมื่อรวมกับกองทุนราชการต่าง ๆ แล้วไม่เกิน 500,000 บาท
  • เงินประกันสังคม นำมาลดหย่อนได้กรณีจ่ายตามจริงไม่เกิน 9,000 บาท
  • รายการลดหย่อน กลุ่มรายจ่ายเชิงกระตุ้นเศรษฐกิจ 
  • ดอกเบี้ยจากการซื้อที่อยู่อาศัยลดหย่อนได้จ่ายตามจริงไม่เกิน 100,000 บาท
  • ซื้อโครงการบ้านหลังแรกปี 2559 ใช้ลดหย่อนได้สูงสุด 120,000 บาท
  • กรณีชำระเงินด้วยบัตรเดบิตเพื่อชำระค่าธรรมเนียม สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง กรณีผู้ชำระมีเงินได้จากค่าเช่า ค่าวิชาชีพอิสระ ค่ารับเหมา หรือเงินได้จากการประกอบธุรกิจอื่น ๆ
ภาษีอากร

  • ลดหย่อน จากการบริจาค 
  • เงินบริจาคให้พรรคการเมืองกรณีจ่ายไม่เกิน 10,000 บาท
  • กรณีที่เราบริจาคเงินเพื่อการศึกษา อาทิ การกีฬา การพัฒนาสังคม และโรงพยาบาลรัฐ นำมาลดหย่อนได้ 2 เท่าจากเงินบริจาคตามที่จ่ายจริง ทว่าต้องไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อนแล้ว
  • เงินบริจาคทั่วไป ลดหย่อนได้ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน
  • วิธีคำนวณ ภาษี
  • ผู้ที่มีเงินได้ไม่เกิน150,000 บาท ไม่ต้องชำระ
  • สำหรับคนที่มีเงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,000 บาทถึง 300,000 บาทต่อปีขึ้นไปจะต้องชำระประมาณ 5%-35% โดยมีวิธีคำนวณง่าย ๆ จากการนำเงินได้ด้วยค่าใช้จ่ายลบด้วยค่าลดหย่อนจะเท่ากับเงินได้สุทธิ  จากนั้นนำเงินได้สุทธิคูณด้วยอัตรา tax คูณด้วย tax ที่ต้องชำระ
  • สำหรับคนที่มีเงินได้เกินหนึ่งล้านบาทต่อปี จำเป็นต้องคำนวณแบบเหมา ๆ โดยนำเงินสุทธิที่ได้คูณด้วย 0.5% หรือนำเงินได้ (ไม่ใช่เงินเดือน) คูณด้วย 0.005% จะเท่ากับเงินที่ต้องชำระ

            ในปัจจุบันรายการลดหย่อนมีเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ผู้ชำระตามกฎหมายจ่ายในอัตราที่น้อยลง ด้วยเหตุนี้การชำระ ภาษี จึงไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัวหรือเป็นเรื่องที่ต้องหลีกเลี่ยง หากเรานำรายการที่กล่าวข้างต้นไปใช้เพื่อลดหย่อน เราอาจได้เงินคืนสู่กระเป๋ามากกว่าที่คิดก็เป็นได้

แหล่งอ้างอิง

https://www.freepik.com/free-photo/account-assets-audit-bank-bookkeeping-finance-concept_17431619.htm#query=vat&position=3&from_view=search

https://www.freepik.com/free-photo/serious-asian-husband-checking-analyzing-statement-utilities-bills-sitting-together-home_15101861.htm#query=vat&position=1&from_view=search

https://www.freepik.com/free-photo/accountant-calculating-profit-with-financial-analysis-graphs_7548546.htm#query=vat&position=0&from_view=search

Credit by : Ufabet